ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน้ำ ถ้าไม่มีน้ำ ก็ไม่มีอาหาร เพราะป่า เป็นต้นน้ำ ต้นกำเนิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารและทรัพยากรอื่นๆ เราควรรู้และเข้าใจป่า 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งซึ่งเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดอากาศของ 2 พื้นที่ 

    Wind is the movement of air from one area to another, resulting from temperature differences and air pressure variances between the two regions.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • โคลนถล่มที่ตำบลน้ำก้อ และอีกหลายพื้นที่ จนมาถึงการเกิดน้ำป่าทำความเสียหายให้กับปายและขุนน่าน ในเดือน สิงหาคม 2559 ...บทเรียนซ้ำ ๆ โมเดลเดิมๆ ช่างน่าเบื่อจังเลย 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System for Administration)” สอนที่ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ เนื้อหาเกี่ยวกับ การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารจัดการ ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ระดับน้ำลด เข้าถึงและพบเด็ก ๆ

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

สารบัญ

 ๒. เมื่อขนาดกว้างยาวของพื้นที่ที่แสดงแผนที่ (บนแผ่นกระดาษ จอภาพคอมพิวเตอร์ หรือ Smart phone) เท่ากันแล้ว แผนที่มาตราส่วนเล็กจะแสดงรายละเอียดของปรากฏการณ์บนพื้นโลกชนิดเดียวกันได้น้อยกว่าแผนที่มาตราส่วนใหญ่

2.1 หากความสามารถของเราสามารถวาดปรากฏการณ์บนพื้นที่ลงบนกระดาษด้วยหัวปากกาขนาด 0.5 mm. หมายความว่า

2.1.1 ที่แผนที่มาตราส่วน 1:10,000 ถ้าเราลากเส้นด้วยปากกา 1 เส้น เส้นนั้นจะมีความหนาเท่ากับ 0.5 x 10,000 มิลลิเมตร = 5 เมตร หรือ 1 จุดความหนาจะแทนปรากฏการณ์บนพื้นโลกขนาด 5 เมตร

2.1.2 ที่แผนที่มาตราส่วน 1:1,000 ถ้าเราลากเส้นด้วยปากกา 1 เส้น เส้นนั้นจะมีความหนาเท่ากับ 0.5 x 1,000 มิลลิเมตร = 1 เมตร หรือ 1 จุดความหนาจะแทนปรากฏการณ์บนพื้นโลกขนาด 1 เมตร

2.2 ตัวอย่างคือ

หากต้องการวาดถนนขนาด 2 เลนและฟุตบาท (2 เลน = 6 เมตร ฟุตบาทข้างละ 2 เมตร รวมแล้วถนนที่จะวาดบนแผนที่มีความกว้าง 10 เมตร)

2.2.1 บนแผนที่มาตราส่วน 1:10,000 วาดถนนโดยลากเส้นถนน 1 เส้นจะได้ถนนกว้าง 5

เมตร หากลาก 2 เส้นคู่ชิดกัน จะได้ถนนกว้าง 10 เมตร ดังนั้นการแสดงถนนดังกล่าวบน

แผนที่มาตราส่วน 1:10,000 จึงควรแสดงด้วยสัญลักษณ์เป็นเส้นเดียว หากแสดงเป็นเป็น

เส้นคู่ผู้ใช้แผนที่ต้องเข้าใจว่าผ่านขบวนการ Generalization จะมีความคลาดเคลื่อนทาง

ตำแหน่งและขนาดมาก

2.2.2 บนแผนที่มาตราส่วน 1:1,000 วาดถนนโดยลากเส้นถนน 1 เส้นจะได้ถนนกว้าง 1 เมตร หากลาก 2 เส้นคู่ชิดกัน จะได้ถนนกว้าง 2 เมตร ดังนั้นการแสดงถนนดังกล่าวบนแผนที่มาตราส่วน 1:1,000 สามารถแสดงด้วยสัญลักษณ์ขอบถนนเป็นเส้นคู่ได้ และยังสามารถแสดงสัญลักษณ์ขอบฟุตบาทได้ด้วย (ความคลาดเคลื่อนทางตำแหน่งและขนาดจะน้อยกว่าแผนที่มาตราส่วนเล็กกว่า)

 ๓. ข้อมูลแผนที่หรือภาพถ่ายจากดาวเทียมที่เป็นดิจิทัลเมื่อแสดงผลในจอคอมพิวเตอร์หรือSmart Phone จะสามารถขยายภาพ (Zoom In) ได้เรื่อยๆ แต่ความถูกต้องเชิงตำแหน่งจะยังคงอยู่ที่ Source Data

3.1 หากภาพถ่ายจากดาวเทียมที่เป็นข้อมูลดิจิทัลมีความละเอียด 1 เมตร หมายความว่าที่จอภาพคอมพิวเตอร์หรือ Smart Phone 1 pixel สามารถแสดงวัตถุหรือปรากฏการณ์บนพื้นโลกที่มีขนาดกว้าง-ยาวตั้งแต่ 1 เมตรขึ้นไปได้เท่านั้น วัตถุหรือปรากฏการณ์บนพื้นโลกที่มีขนาดกว้างหรือยาวเล็กว่า 1 เมตรจะไม่สามารถปรากฏเห็นได้ อย่างไรก็ตามเมื่อข้อมูลอยู่ในระบบดิจิทัลโปรแกรมที่ใช้ดูภาพถ่ายจากดาวเทียมจะสามารถขยายภาพ (Zoom In) บนจอภาพได้เรื่อยๆ หากต้องการเพิ่มรายละเอียดของข้อมูลเป็นชั้นข้อมูลแผนที่ใหม่โดยลากเส้นซ้อนทับภาพถ่ายจากดาวเทียม (Head Up Digitizing) จะสามารถทำได้แต่สิ่งที่ต้องเข้าใจคือ ความแม่นยำทางตำแหน่งของชั้นข้อมูลแผนที่ใหม่จะมีข้อจำกัดจะอยู่ที่ความละเอียดของข้อมูลตั้งต้น และองค์ประกอบการบินถ่ายภาพทั้งลักษณะกล้อง การเอียงของกล้อง การเอียงของภูมิประเทศ ฯลฯ

3.3 ตัวอย่างคือ

ภาพถ่ายจากดาวเทียมที่เป็นข้อมูลดิจิทัลมีความละเอียด 1 เมตรซึ่งถ่ายภาพในเขตเมืองสามารถมองเห็นแนวถนนได้ แต่ไม่สามารถแยกแยะผิวถนนกับฟุตบาทได้ หากใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ขยายภาพ (Zoom In) จะสามารถเพิ่มรายละเอียดข้อมูลโดยลากเส้นขอบถนนและฟุตบาทซ้อนทับไปบน Pixel ของภาพถ่ายจากดาวเทียมได้ แต่สิ่งที่ผิดพลาดแน่นอน คือการลากเส้นผ่านภาพถ่ายจากดาวเทียมไปนั้น ในแต่ละ Pixel จะสามารถเกิดความคลาดเคลื่อนออกจากตำแหน่งที่ถูกต้องได้เนื่องจาก 1 Pixel มีขนาดกว้าง-ยาวตั้งแต่ 1 เมตรหรือมากกว่า หากจุดเริ่มต้น (Start point) และจุดสุดท้าย (End point) ของเส้นคลาดเคลื่อนสิ่งที่ตามมาคือ ตำแหน่งระหว่างเส้น (Vertex) ระยะทาง (Distance) พื้นที่ (Area) ที่เกิดจากการคำนวณรูปปิดจะมีความคลาดเคลื่อนตามไปด้วย

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ตั้งแต่เด็กจนแก่มนุษย์อยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมรอบตัว การเหลียวหันไปมอง การไขว้คว้า การเคลื่อนที่ของมนุษย์ล้วนผ่านการจดจำว่ามีอะไร อยู่ที่ไหน อย่างไร ซึ่งเราเรียกมันว่า แผนที่ในใจ (Mental Map)

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ในอดีต แผนที่ผูกพันกับชีวิตประจำวันเฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น ปัจจุบัน เมื่อมือถือ มีระบบแผนที่ออนไลน์ การอ่านและเข้าใจแผนที่จึงสร้างประโยชน์ในชีวิตประจำวันมากขึ้น และหากเข้าใจแผนที่มากขึ้น แน่นอนว่าแผนที่จะยิ่งสร้างประโยชน์มากยิ่งๆขึ้น 
    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การสำรวจข้อมูลภาคสนามโดยใช้แผนที่เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล

    Improving map data in geographic information systems with field data surveys using maps. We need consideration to determine the type of data feature.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เมื่อรู้จัก ลักษณะปรากฏการณ์ที่ (Feature) กำหนดชนิดของข้อมูลและข้อเท็จจริงแล้ว การนำค่าข้อมูลที่เป็น Attribute data มาจำแนกและแสดงผลในรูปแผนที่หรือบางคนเรียกว่าส่วนที่เป็น Graphic data เป็นสิ่งที่จำเป็น  

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • GIS : หลักการและการสร้างแผนที่ภูมิศาสตร์เบื้องต้น การใช้งานโปรแกรม ArcView 3.2 เบื้องต้น เนื้อหา การใช้งานโปรแกรม ArcView 3.2 เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลทั้งในรูปฐานข้อมูล แผนภูมิ และแผนที่  โดยสอนฝึกปฏิบัติกับโปรแกรมและข้อมูลจริง

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ากมอง GIS ในฐานะเครื่องมือแล้ว GIS จะประกอบด้วย Hardware Software Data Information Network Application และ Peopleware หากแต่ผลผลิตของ GIS คือสารสนเทศ (Information) ซึ่งลักษณะเด่นคือ สารสนเทศเชิงพื้นที่ (Spatial Information)

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2555 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2559

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้44
เมื่อวานนี้470
สัปดาห์นี้1553
เดือนนี้514
ทั้งหมด1199696
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 3

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com