เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน้ำ ถ้าไม่มีน้ำ ก็ไม่มีอาหาร เพราะป่า เป็นต้นน้ำ ต้นกำเนิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารและทรัพยากรอื่นๆ เราควรรู้และเข้าใจป่า 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ฤดูกาลของประเทศไทย: ปัจจัยเบื้องหลังสามฤดูกาลของประเทศไทย – ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

    Thailand season: The factor behind the three seasons of Thailand – summer, rainy and winter seasons

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

    The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS จนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของ กทม. ได้มากมายในปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    จากสภาพปัญหาเรื่องการประสานสาธารณูปโภคจึงเกิดโครงการทดลองที่นำเอาระบบ GIS มาเป็นเครื่องมือจัดสร้างฐานข้อมูลร่วมกันเพื่อการทำงานร่วมกัน

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  หลากหลายความเห็นจากนักภูมิศาสตร์และการเตรียมพร้อมเพื่อเข้าพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ทั้งนี้ จากองค์ความรู้ ประสบการณ์และเครื่องมือที่นักภูมิศาสตร์มี นักภูมิศาสตร์จึงทำงานได้ทั้งในฐานะผู้ศึกษาทางพื้นที่ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ผู้วางแผนและผู้ประสานงาน

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

ลักษณะปรากฏการณ์กำหนดชนิดของข้อมูลและข้อเท็จจริง

หากนำระบบ GIS มานำเสนอปรากฏการณ์บนพื้นโลกในรูปแผนที่ เราต้องเข้าใจปรากฏการณ์ซึ่งจะนำไปสู่ลักษณะของข้อมูลที่จะนำเสนอเพื่อให้

- ผู้สร้างแผนที่สามารถออกแบบการนำเสนอข้อมูลให้ผู้ใช้เข้าใจ

- ผู้ใช้แผนที่สามารถเข้าใจและวิเคราะห์ปรากฏการณ์ต่อยอดได้

- ผู้รับบริการข้อมูลสุดท้ายจึงจะได้รับข้อเท็จจริงที่เป็น ข้อจริงมากกว่าข้อเท็จ  

ชนิดปรากฏการณ์ที่นำเสนอ ประกอบด้วย

1. ปรากฏการณ์ไม่ต่อเนื่องแบ่งแยกได้ชัดเจน

1.1 หากพิจารณาข้อมูลเชิงพื้นที่เราสามารถแบ่งแยกปรากฏการณ์เป็นส่วนๆ ได้ชัดเจน เช่น

ที่ตั้งที่ว่าการอำเภอแบ่งเป็นแต่ละตำแหน่ง ได้แก่ ที่ว่าการอำเภอร่อนพิบูลย์ ที่ว่าการอำเภอปากพนัง ที่ว่าการอำเภอเชียรใหญ่ ที่ว่าการอำเภอลานสกา เป็นต้น เช่นเดียวกับพื้นที่อำเภอซึ่งมีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ชัดเจน

ถนนแบ่งเป็นเส้น ๆ ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 408 เป็นต้น

 

1.2 หากพิจารณาข้อมูลเชิงตัวเลขแล้วจะพบว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นเลขจำนวนเต็มไม่มีทศนิยม เช่น จำนวนประชากร จำนวนโรงงาน จำนวนต้นไม้ ฯลฯ การนำเสนอเสนอในรูปกราฟจะชัดเจนเมื่อนำเสนอในรูปกราฟแท่ง

 

2. ปรากฏการณ์ที่ต่อเนื่อง เป็นปรากฏการณ์ที่ไม่มีช่องว่างหรือรอยต่อระหว่างการเป็นกลุ่ม ประเภทหรือ ลำดับของข้อมูลอย่างชัดเจน เช่น

 

2.1 หากพิจารณาข้อมูลเชิงพื้นที่เราจะแสดงโดยใช้ค่าส่วนใหญ่หรือค่าเฉลี่ย เช่น

 

ค่าฝุ่นละออกในบรรยากาศ ณ จุดตรวจวัดต่างๆ ถ้าได้ค่า PM10 ซึ่งหมายถึง ฝุ่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 10 ไมครอนลงมา แต่ไม่ได้ความอย่างนั้นจริงๆ เพราะ PM10 เป็นค่าเฉลี่ยของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ซึ่ง ณ จุดตรวจวัดนั้นสามารถมีฝุ่นละอองขนาดเกิน 10 ไมครอนผสมอยู่ก็ได้

            เส้นชั้นความสูง ซึ่งเป็นเส้นที่ลากผ่านจุดที่ความสูงของภูมิประเทศที่เท่ากัน แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกจุดบนเส้นนั้นมีความสูงตามค่านั้นจริงๆ เพราะค่าความสูงบนเส้นนั้นเกิดจากค่าเฉลี่ยโดยประมาณ เช่นเดียวกับข้อมูลพื้นที่ระดับความสูง ไม่ได้หมายความว่าทุกจุดบนพื้นที่นั้นจะมีค่าความสูงเท่ากัน และไม่ได้หมายความว่ารอยต่อของพื้นที่ที่เปลี่ยนค่าระดับความสูงจะเปลี่ยนค่าความสูงทันที จริงแล้วในภูมิประเทศจะค่อยๆเปลี่ยนค่าระดับความสูงเข้าหากัน

พื้นที่ขอบเขตชุดดิน ไม่ได้หมายความว่าในพื้นที่จริงจะแบ่งชุดดินตามรอยต่อนั้นจริงๆ เพราะข้อเท็จจริงจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงและผสมผสานในองค์ประกอบของดินตามรอยต่อของประเภทชุดดินที่แยกประเภทกัน

      2.2  หากพิจารณาข้อมูลเชิงตัวเลขแล้วจะพบว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นตัวเลขมีค่าทศนิยม เช่น ข้อมูลปริมาณฝน ข้อมูลอุณหภูมิ ฯลฯ ซึ่งสามารถนำมาสร้างโค้งการกระจายข้อมูลได้

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มาตราส่วนจะสัมพันธ์ในการทำ Generalization และ Symbolization ในแผนที่

    The scale plays a crucial role in the processes of generalization and symbolization in cartography.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เส้นชั้นความสูงเป็นเส้นที่สมมุติที่จะลากผ่านพื้นผิวโลกที่มีระดับความสูงเท่ากัน โดยเส้นชั้นความสูงจะปรากฏทั่วไปในแผนที่ที่ต้องการแสดงภูมิประเทศ หรือเป็นชั้นข้อมูลหนึ่งในโปรแกรมระบบ GIS 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • มนุษย์พยายามบอกเล่าปรากฏการณ์บนพื้นพิภพเป็นภาษา Cartographic Map

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การดำเนินการศึกษาใช้สภาพทางกายภาพของที่ตั้งอาคารเป็นเครื่องชี้ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ใช้ GIS Multi Criteria Modeling Delphi Technique  เป็นเครื่องมือประกอบการศึกษา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลักการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ตามแนวคิดและเทคนิควิธีการทางภูมิศาสตร์ซึ่งมีมาตั้งแต่ดั่งเดิมจนมาถึงปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ราชบัณฑิตยสถาน (2549,258) ให้ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) ว่า ระบบข้อมูลข่าวสารที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์....." แล้วเข้าใจข้อมูลที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์ว่าอย่างไร

    อ่านเพิ่มเติม...
  • นักท่องเที่ยว แรงงานต่างด้าว ในเมืองเชียงใหม่ 

    Travelers and foreign workers in the city of Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •   

    สิ่งที่ปรากฏข้างหน้า...เขาหัวโล้นที่ปรากฏเด่นชัด...ป่าต้นน้ำหายไปไหนเป็นคำถามที่ผุดขึ้นในสมอง

    The prominent feature ahead is a mountain with very few remaining trees. Where has the vanished watershed forest gone?

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้199
เมื่อวานนี้589
สัปดาห์นี้2862
เดือนนี้11161
ทั้งหมด1197370
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 4

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com