ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 ถึง 12 องศาเหนือ และลองจิจูด 97 ถึง 106 องศาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 513115 ตารางกิโลเมตร

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ฝนตกในวันที่ 9 และ 10 ธ.ค. 2566 ในวันที่ 11 ธ.ค. 2566 ไม่มีหมอก วันที่ 12 ธ.ค. 2566 ตอนเช้าอากาศเย็นเล็กน้อย ปรากฏมหมอกบาง ๆ รอบๆ บ้านภูมิ-เพียง แม่ริม เชียงใหม่

    Rain on December 9 and 10, 2023. December 11, 2023, no fog. On December 12, 2023, the morning was slightly cold. The fog appeared around the BaanPoomPiang Mae Rim Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ฤดูกาลของประเทศไทย: ปัจจัยเบื้องหลังสามฤดูกาลของประเทศไทย – ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

    Thailand season: The factor behind the three seasons of Thailand – summer, rainy and winter seasons

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เครื่องมือทางภูมิศาสตร์กับสารสนเทศภูมิศาสตร์ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในฐานะเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ถูกบรรจุเนื้อหาไว้ในวิชาเรียนในระดับมัธยมศึกษา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ติดตามสถานการณ์ภารกิจช่วยเหลือเด็ก ๆ หายและเริ่มต้นการค้นหา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  หลากหลายความเห็นจากนักภูมิศาสตร์และการเตรียมพร้อมเพื่อเข้าพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

กทม. กับ การจัดการ IT ตอน 3 (บทบาท IT ที่ต้องบริหารจัดการอะไรกับใครบ้าง)

หากพิจารณาแผนผังความสัมพันธ์ของหน่วย IT ของ กทม.กับงานด้าน IT ซึ่งทำงานร่วมกันกับหน่วยงานหรือหน่วยสั่งการทั้งภายในและภายนอก กทม.แล้ว จะพบความสัมพันธ์ดังนี้

 1.        เกี่ยวข้องเชื่อมต่อภายใน กทม.โดยตรงเป็นการเชื่อมระหว่างหน่วย  IT ของกทม. กับหน่วย IT ของสำนัก สำนักงานเขต และหน่วยงานในสังกัด กทม. เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข ฯลฯ  

 2.       เกี่ยวข้องเชื่อมต่อภายนอก กทม.เป็นการเชื่อมระหว่างหน่วยงานกลาง IT ของกทม. กับหน่วย IT ของ หน่วยงานรัฐบาลนอกสั่งกัด กทม. หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานเอกชน

 และหากต้องบริหารจัดการระบบ IT โดยดูที่องค์ประกอบคือ Hardware (HW), Software (SW), Peopleware (PW), Network & Communication (NW), Application (App) และData & Information (Data/Inf.) แล้ว สิ่งที่หน่วย IT ต้องบริหารจัดการองค์ประกอบ IT ที่มีอยู่ตามหน่วยงานต่างๆทั้งหมดย่อมต้องวางแผนและกำหนดแนวทางให้ชัดเจน

 

จากแผนผังซึ่งเกิดจากการนำแผนผังความสัมพันธ์ของหน่วย IT ของ กทม.กับหน่วย IT อื่นๆ มาซ้อนทับแผนผังองค์ประกอบ IT โดยแยกการบริหารจัดการองค์ประกอบ IT ที่มีอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ โดยจะพบว่า

 

-          สิ่งที่หน่วย IT ของ กทม. จะต้องบริการจัดการทรัพยากรด้าน IT ทั้ง HW SW PW APP NW Data/Inf. ทั้งหมดจะอยู่ที่สำนักยุทธศาสตร์และประมวลผล (สยป.)ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางด้าน IT ของ กทม. อยู่ที่สำนัก สำนักงานเขต หน่วยงานในสังกัด กทม.

 

-          ส่วนที่เป็นหน่วยงานนอกสังกัด กทม. ซึ่งบริหารจัดการทรัพยากรด้าน IT เองแต่ในบางครั้งจะให้สิทธิ์ กทม. เข้าไปติดตั้ง เชื่อมต่อ ดูแลและใช้งานทรัพยากรด้าน IT ได้บางส่วน จะมีทั้งหน่วยงานรัฐบาล เช่น สำนักงานทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง ฯลฯ   หน่วยงานนอกสังกัด กทม. ที่เป็นรัฐวิสาหกิจ/เอกชน ได้แก่ ธนาคารต่างๆ    

 

คำถามคือ หน่วย IT ต้องบริหารจัดการองค์ประกอบ IT เหล่านั้นอย่างเป็นระบบอย่างไรหรือเป็นระบบอะไรบ้าง

 

ตามที่กล่าวไว้ว่าส่วนที่หน่วยงานด้าน IT ต้องบริหารจัดการจะประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก คือ

1.Information Technology (IT) เป็นการประยุกต์ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน วิเคราะห์ ประมวลผล และแสดงผลข้อมูล โดยจะรวมถึงเทคโนโลยีการสื่อสารสารสนเทศอื่นด้วย เช่น โทรทัศน์โทรศัพท์ กล้องถ่ายภาพ กล้องซีซีทีวี อุปกรณ์ทางการแพทย์ ฯลฯ

2.Communication Technology (CT) เป็น Digital Technology ที่พัฒนาเพื่อจัดการด้านการสื่อสาร (Communication) หรือ การขนส่งข่าวสาร (Transfer of Information) ทั้งทางด้านภาพ (Image) เสียง (Voice) หรือทางด้านข้อมูล (Data) โดยมีองค์ประกอบ ส่วน ได้แก่ ผู้ส่งสาร ช่องทางการสื่อสาร และ ผู้รับสาร และมีระบบการสื่อสาร 2 ประเภท คือ ประเภทมีสาย และประเภทไม่มีสายหรือไร้สาย

3.Information Science (IS) เป็นขบวนการประมวลผลข้อมูลที่มีอยู่อย่างหลากหลายให้อยู่ในรูปของสารสนเทศหรือข่าวสารที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้สนับสนุนการบริการ การบริหารและการตัดสินใจในทุกระดับ

              4.Information Technology Support & Service เป็นขบวนการสนับสนุนการทำงานในทุกขบวนการตั้งแต่การจัดหา จัดทำ ติดตั้ง ทดสอบ ดูแล ซ่อมบำรุง ปรับปรุงแก้ไขและอื่นๆที่เกี่ยวข้องโดยจะสนับสนุนทั้งทางด้านองค์ความรู้ เทคนิควิธีการใช้และปฏิบัติ สำหรับผู้ใช้งาน IT CT IS ในทุกระดับ

เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของหน่วย IT ของ กทม.กับหน่วย IT อื่นๆ กับระบบที่จะเกิดทั้ง Information Technology (IT), Communication Technology (CT), Information Science (IS) และ Information Technology Support & Service (ITSS) จะพบว่าสิ่งที่หน่วย IT กทม.ต้องบริหารจัดการ จะอยู่ที่ สยป.หน่วยงานกลางด้าน IT ของ กทม. อยู่ที่สำนักต่างๆ  อยู่ที่สำนักงานเขต อยู่ที่หน่วยงานในสังกัด กทม.เท่านั้น ทั้งนี้โดยหลักการ สยป. หน่วยงานกลางด้าน IT ของ กทม.จะเป็นหน่วยอำนวยการ สำนัก สำนักงานเขต หน่วยงานในสังกัด กทม.อื่นๆ ควรจะเป็นหน่วย ปฏิบัติเท่านั้น

แต่โดยข้อเท็จจริงปัจจุบัน...หาเป็นเช่นนั้นไม่ ? (แล้วจะอย่างไร...มาว่ากันต่อตอนที่ 4 ครับ)

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • จัดเก็บข้อมูลภาคสนามด้วยแผนที่เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล (Feature Type)

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • มนุษย์พยายามบอกเล่าปรากฏการณ์บนพื้นพิภพเป็นภาษา Cartographic Map

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • แผนที่ หมายถึงสิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิวโลกทั้งหมด หรือบางส่วนบนพื้นราบโดยการย่อส่วนและใช้สัญลักษณ์แทนรายละเอียดต่าง ๆที่ปรากฏอยู่ การจำแนกประเภทแผนที่มีหลายวิธีการ

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    การนำข้อมูลในระบบ GIS ที่เป็น Attribute data มาแสดงผลให้เห็นเป็นภาพในแผนที่ สามารถแสดงได้ 4 รูปแบบ คือ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เนื้อหาการบรรยายเน้นอธิบายให้เข้าใจที่มาของระบบ GIS รวมทั้ง Spatial data เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยแผนที่ระบบเดิม โดยมีกิจกรรมแทรกประกอบ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ผลงานทางวิชาการเสนอเป็นผลงานในการปรับระดับการดำรงตำแหน่งจากเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 6 เป็นเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 7ว. ซึ่งเป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2555 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2559

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้240
เมื่อวานนี้501
สัปดาห์นี้2314
เดือนนี้10613
ทั้งหมด1196822
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 8

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com