ผ่าช่อ สภาพภูมิสัณฐานที่เห็นเป็นชั้นดินและหินแยกออกเป็นชั้นๆ เขาว่าเป็น แกรนด์แคนยอนเมืองไทย

"The geological formation, characterized by layers of soil and rock, is referred to as the Grand Canyon of Thailand."

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 ถึง 12 องศาเหนือ และลองจิจูด 97 ถึง 106 องศาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 513115 ตารางกิโลเมตร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • พื้นผิวของประเทศไทย เมื่อแบ่งตามธรณีสัณฐานจะแบ่งได้ 8 ภูมิภาค

    อ่านเพิ่มเติม...
  • อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งซึ่งเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดอากาศของ 2 พื้นที่ 

    Wind is the movement of air from one area to another, resulting from temperature differences and air pressure variances between the two regions.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ฝนตกในวันที่ 9 และ 10 ธ.ค. 2566 ในวันที่ 11 ธ.ค. 2566 ไม่มีหมอก วันที่ 12 ธ.ค. 2566 ตอนเช้าอากาศเย็นเล็กน้อย ปรากฏมหมอกบาง ๆ รอบๆ บ้านภูมิ-เพียง แม่ริม เชียงใหม่

    Rain on December 9 and 10, 2023. December 11, 2023, no fog. On December 12, 2023, the morning was slightly cold. The fog appeared around the BaanPoomPiang Mae Rim Chiang Mai.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    จากสภาพปัญหาเรื่องการประสานสาธารณูปโภคจึงเกิดโครงการทดลองที่นำเอาระบบ GIS มาเป็นเครื่องมือจัดสร้างฐานข้อมูลร่วมกันเพื่อการทำงานร่วมกัน

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับพี่ ๆ น้อง ๆ และครูบาอาจารย์ ในฐานะศิษย์เก่าจึงได้นำเสนอความคิดของอดีตข้าราชการสายวิชาการและสายบริหาร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    ทั้งนี้ จากองค์ความรู้ ประสบการณ์และเครื่องมือที่นักภูมิศาสตร์มี นักภูมิศาสตร์จึงทำงานได้ทั้งในฐานะผู้ศึกษาทางพื้นที่ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ผู้วางแผนและผู้ประสานงาน

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

การวัดพื้นที่บนแผนที่แบบโบราณ

 การวัดพื้นที่บนแผนที่มีหลายวิธีการ แต่ละวิธีมีความเหมาะสมและได้ผลถูกต้องแม่นยำแตกต่างกันไป ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ในการวัดพื้นที่บนแผนที่เบื้องต้น ผู้ที่วัดขนาดพื้นที่ต้องเข้าใจความหมายของมาตราส่วนแผนที่ก่อน เช่น แผนที่มาตราส่วน 1 : 5,000 หมายถึง เมื่อวัดความยาวบนแผนที่ได้ 1 ส่วน หมายถึงในภูมิประเทศจะยาว 5,000 ส่วน ถ้าให้เขาใจง่ายๆ คือ วัดความยาวในแผนที่ได้ 1 เซนติเมตร บนพื้นโลกจะยาว 5,000 เซนติเมตร หรือ 50 เมตรนั่นเอง

เมือต้องการการวัดพื้นที่บนแผนที่มีหลายวิธีการโดยพิจารณาจากรูปร่างของพื้นที่เป็นหลัก คือ

1.       ถ้ารูปร่างพื้นที่เป็นรูปทรงเรขาคณิต สามารถคำนวณพื้นที่ได้โดยใช้สูตรตามรูปทรงเรขาคณิตนั้น โดยวัดค่าระยะจากมาตราส่วน เช่น พื้นที่ถ้าเป็นสี่เหลี่ยมพื้นผ้า พื้นที่ คือ กว้าง x ยาว โดยความกว้างและความยาวหาได้จากการวัดในแผนที่แล้วนำมาเทียบมาตราส่วน

 

๒.      ถ้ารูปร่างพื้นที่ไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิต สามารถคำนวณโดยใช้วิธีเบื้องต้นดังนี้

 

2.1 การคำนวณพื้นที่จากเส้นขนาน

 

วิธีการประกอบด้วย

1.       ลากเส้นขนานให้มีระยะห่างเท่า ๆ กันให้ครอบคลุมพื้นที่ที่ต้องการ

2.       วัดระยะห่างของเส้นขนานและคำนวณระยะจริงในภูมิประเทศ

3.       วัดระยะความยาวของแต่ละเส้นขนานสร้างในข้อ 1 และคำนวณระยะจริงในภูมิประเทศของแต่ละเส้น

4.       คำนวณพื้นที่โดยนำ ความยาวของแต่ละเส้นขนานในข้อ 3 มารวมกันแล้วคูณด้วยความยาวของระยะห่างของเส้นขนานในข้อ 2

2.2 การคำนวณพื้นที่จากตารางจัตุรัส

 

วิธีการประกอบด้วย

1.       สร้างตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเล็ก บนแผ่นใส หรือวัสดุคล้ายกัน

2.       คำนวณพื้นที่แต่ละตาราง เช่น ถ้าตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 1 เซนติเมตร เมื่อนำไปวัดพื้นที่บนแผนที่มาตราส่วน 1 : 100,000 พื้นที่ 1 ตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะเท่ากับพื้นที่ภูมิประเทศจริงดังนี้

100,000 เซนติเมตร X 100,000 เซนติเมตร

1 กิโลเมตร  X  1 กิโลเมตร

1 ตารางกิโลเมตร

3.       นำเอาแผ่นใส ไปทาบพื้นที่ที่ต้องการวัดขนาด แล้วนับจำนวนช่องตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมด เศษของตารางนำมานับรวมกันให้เป็นพื้นที่ตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัส

๔.       คำนวณพื้นที่ว่ามีกี่ช่องตารางแล้วนับ 1 ช่องตารางเท่ากับ 1 ตารางกิโลเมตร ส่วนของเศษก็สามารถประมาณการได้ 

 

 

 

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • การวัดพื้นที่บนแผนที่มีหลายวิธีการ แต่ละวิธีมีความเหมาะสมและได้ผลถูกต้องแม่นยำแตกต่างกันไป ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ในการวัดพื้นที่บนแผนที่เบื้องต้น ผู้ที่วัดขนาดพื้นที่ต้องเข้าใจ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • การสำรวจข้อมูลภาคสนามโดยใช้แผนที่เพื่อปรับปรุงข้อมูลแผนที่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล

    Improving map data in geographic information systems with field data surveys using maps. We need consideration to determine the type of data feature.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  ในอดีต แผนที่ผูกพันกับชีวิตประจำวันเฉพาะคนบางกลุ่มเท่านั้น ปัจจุบัน เมื่อมือถือ มีระบบแผนที่ออนไลน์ การอ่านและเข้าใจแผนที่จึงสร้างประโยชน์ในชีวิตประจำวันมากขึ้น และหากเข้าใจแผนที่มากขึ้น แน่นอนว่าแผนที่จะยิ่งสร้างประโยชน์มากยิ่งๆขึ้น 
    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    แผนที่เป็นตัวแทนของข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ถูกจัดเก็บไว้ในระบบ GIS ในขบวนการของระบบ GIS ที่ มีการใช้งานแผนที่ ประกอบด้วยขบวนการได้มาของข้อมูล การประมวลผล การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • แนวคิดการนำระบบ GIS ประยุกต์ใช้งานในภารกิจที่รับผิดชอบ เนื้อหาการบรรยายเน้นอธิบายให้เข้าใจถึงวิธีคิดในการประยุกต์ใช้ระบบ GIS สำหรับงานในภารกิจที่รับผิดชอบ โดยยกตัวอย่างการออกแบบและขบวนประยุกต์ใช้งานทุกขั้นตอน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลักการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ตามแนวคิดและเทคนิควิธีการทางภูมิศาสตร์ซึ่งมีมาตั้งแต่ดั่งเดิมจนมาถึงปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้16
เมื่อวานนี้593
สัปดาห์นี้3209
เดือนนี้2170
ทั้งหมด1201352
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 4

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com