ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำมีพัฒนาการแบ่งเป็น 3 ช่วงอายุ

    After the earth's crust uplifts, erosion processes occur, developing into three age stages.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ปรากฏการณ์ เอลนีโญ – ลานิญา ถูกพูดถึงบ่อยและมากขึ้น ในฐานะนักภูมิศาสตร์คงต้องอธิบายเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจอีกครั้ง

    The phenomenon of El Niño-La Niña is increasingly and frequently discussed. As a geographer, it is essential to provide explanations for better understanding once again.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS จนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของ กทม. ได้มากมายในปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
  • “GE737 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เนื้อหาการบรรยายที่มาของระบบ GIS Spatial data Database การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  หลากหลายความเห็นจากนักภูมิศาสตร์และการเตรียมพร้อมเพื่อเข้าพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

งานแผนที่ในระบบ GIS ความคลาดเคลื่อนตลอดกาล 

แผนที่เป็นตัวแทนของข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ถูกจัดเก็บไว้ในระบบ GIS ในขบวนการของระบบ GIS ที่ มีการใช้งานแผนที่ ประกอบด้วยขบวนการได้มาของข้อมูล การประมวลผล การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่ ในขบวนการที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลด้วยสมการหรือสูตรทางคณิตศาสตร์ตาม Algorithms ที่กำหนดไว้ ย่อมมีโอกาสที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนเสมอ ผู้ใช้ระบบ GIS จึงจำเป็นต้องตระหนักและรับรู้ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อที่จะเข้าใจว่าผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ GIS มีความคลาดเคลื่อนในระดับของการยอมรับได้ สำหรับการนำไปประกอบการปฏิบัติงานหรือตัดสินใจได้หรือไม่ระดับใด

จากพื้นฐานแนวคิดทางภูมิศาสตร์สู่ระบบ GIS

                  ระบบ GIS มี การพัฒนามาจากพื้นฐานแนวคิดทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มีมุมมองเพื่อศึกษาทางพื้นที่โดยการผสมผสานแนวความคิด กระบวนการจัดการ กระบวนการการกระจายตัวทางพื้นที่ วิวัฒนาการทางกายภาพ ชีวภาพและวัฒนธรรม รวมทั้งปฏิสัมพันธ์และการจัดระเบียบทางพื้นที่เพื่อมุ่งหาสาเหตุที่เกิดและ การจัดการปรากฏการณ์บนพื้นโลกอีกด้วย

                 ในทางภูมิศาสตร์ ถ้าจะอธิบายความหมายของคำว่า GIS หรือ Geographic Information System แล้ว David Martin ได้แยกอธิบายคำว่า GIS ไว้อย่างชัดเจนว่า

          Geographic เป็น ส่วนของภาพที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของข้อมูลที่อ้างถึงตำแหน่งบนพื้น โลกซึ่งมีการวัดหรือการคำนวณทางด้านพิกัดทางภูมิศาสตร์โดยเทียบเป็นมาตรา ส่วน

          Information เป็น ส่วนของการใช้ระบบถามคำถามหรือค้นหาคำตอบจากฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ สารสนเทศที่ได้จะแสดงสภาพภูมิศาสตร์บนพื้นโลก ซึ่งนำมาแสดงในรูปของข้อมูลที่หลากหลาย ข้อมูลเหล่านั้นจะถูกนำมารวบรวมจัดการในลักษณะของรูปจำลองที่เกิดขึ้นบนพื้น โลก

          System เป็นองค์ประกอบที่นำมาจัดการค้นหาคำตอบที่ต้องการรู้ ซึ่ง GIS ไม่ จำเป็นต้องเป็นระบบอัตโนมัติเท่านั้น ในองค์ประกอบเหล่านั้นควรจะผสมผสานกันระหว่างขบวนการนำเข้า จัดเก็บ จัดการและนำเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์ แต่เนื่องจากระบบอัตโนมัติ ได้แก่ระบบคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว GIS จึงมีการพัฒนาให้เป็นระบบอัตโนมัติด้วยเช่นกัน

          โดยสรุประบบ GIS จะ เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่อ้างถึงตำแหน่งที่อ้างอิงมาตราส่วนซึ่งแสดงในรูปของ แผนที่ และมีการจัดการให้อยู่ในรูปของฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยมีขบวนการการนำเข้า จัดเก็บ จัดการและนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบซึ่งปัจจุบันเป็นระบบอัตโมัติหรือเป็น เทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์นั้นเอง

Mitchell,Bruce ได้กล่าวถึงระบบ GIS ว่า เป็นรากฐานของการวางแผนภูมิภาคและการวางแผนจัดการทรัพยากร การผสมผสานการวิเคราะห์พื้นที่ ทางภูมิภาค เข้ากับการวิเคราะห์เชิงนิเวศน์วิทยา ในการวิเคราะห์ทางพื้นที่นักภูมิศาสตร์มักจะมีคำถามที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่  4 ประการคือ

1.      นักภูมิศาสตร์เกี่ยวข้องกับการจัดโครงสร้างทางกายภาพของพื้นที่อย่างไร

2.      มนุษย์มีความสัมพันธ์กับพื้นที่อย่างไร

3.      มนุษย์มีการจัดการสังคมของพวกเขาในพื้นที่อย่างไร

      4.      แนวคิดเชิงพื้นที่และการใช้ประโยชน์พื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง

รายละเอียด

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • มนุษย์พยายามบอกเล่าปรากฏการณ์บนพื้นพิภพเป็นภาษา Cartographic Map

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • แผนที่ หมายถึงสิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิวโลกทั้งหมด หรือบางส่วนบนพื้นราบโดยการย่อส่วนและใช้สัญลักษณ์แทนรายละเอียดต่าง ๆที่ปรากฏอยู่ การจำแนกประเภทแผนที่มีหลายวิธีการ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อโลกมีลักษณะเป็นทรงกลมคล้ายผลส้ม การทำแผนที่ซึ่งต้องเป็นแผ่นราบใช้พกพา การย่อส่วนและการใช้สัญลักษณ์แสดงสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลกซึ่งต้องการความถูกต้องใกล้เคียงทั้งทิศทาง ระยะทาง รูปร่างและพื้นที่เป็นสิ่งจำเป็นที่นักภูมิศาสตร์ต้องสร้างเส้นโครงแผนที่ขึ้นมา 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • หนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อความสะดวกของการใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งมี Algorithms เกี่ยวข้องกับพื้นที่และเวลา

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ประเทศไทยเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัย ขณะที่ประชากรวัยชราและประชากรวัยเด็กซึ่งเป็นวัยพึ่งพิงต้องการการเลี้ยงดูและดูแลจากวัยแรงงาน ภายใต้สภาวะประชากรวัยเด็ก”ลดลง "วัยชรา"เพิ่มขึ้น "วัยแรงงาน" พร้อมจะเลี้ยงดูและดูแลกันอย่างไร 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลักการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การสร้างและจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลตามแนวคิดทางภูมิศาสตร์

    รายละเอียด

  •  

    ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2555 จนกระทั้งปี พ.ศ. 2559

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

     เมื่อการเพิ่มขึ้น-ลดลงของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่ในภาษานักประชากรศาสตร์ถูกอธิบายบนพื้นที่แบบนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้281
เมื่อวานนี้593
สัปดาห์นี้3474
เดือนนี้2435
ทั้งหมด1201617
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 7

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com