ผ่าช่อ สภาพภูมิสัณฐานที่เห็นเป็นชั้นดินและหินแยกออกเป็นชั้นๆ เขาว่าเป็น แกรนด์แคนยอนเมืองไทย

"The geological formation, characterized by layers of soil and rock, is referred to as the Grand Canyon of Thailand."

อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 ถึง 12 องศาเหนือ และลองจิจูด 97 ถึง 106 องศาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ 513115 ตารางกิโลเมตร

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • มวลสารที่อัดแน่นอยู่ระเบิดออกอย่างรุนแรง (Big Bang) ทำให้เกิดระบบสุริยจักรวาล

    อ่านเพิ่มเติม...
  • อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งซึ่งเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดอากาศของ 2 พื้นที่ 

    Wind is the movement of air from one area to another, resulting from temperature differences and air pressure variances between the two regions.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (Introduction to Computer) ” สอนที่ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ เนื้อหาแนะนำการใช้งานคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องและน่าสนใจ การบริหารจัดการ ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารรัฐกิจ

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System for Administration)” สอนที่ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ เนื้อหาเกี่ยวกับ การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารจัดการ ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ระดับน้ำลด เข้าถึงและพบเด็ก ๆ

    อ่านเพิ่มเติม...
ดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งานดาวไม่ได้ใช้งาน
 

การกำหนด Feature Type กับความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ มาตราส่วนของแผนที่ฐาน

ภายหลังที่อ่านบทความ ระบบ GIS ระบบข้อมูลที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัด ?” ทำให้รู้จักคำว่า Feature Type ซึ่งประกอบด้วย Point Line Area/Polygon และ 3D อย่างไรก็ตาม เมื่อใช้โปรแกรมระบบ GIS การกำหนดประเภทของ Feature เราจะคุ้นเคยเพียง Feature : Point Line Area/Polygon สำหรับ Feature ที่เป็น 3D เป็นเพียงลักษณะข้อมูลที่บอกความสูงต่ำซึ่งในระบบ GIS แล้วโดยปกติจะเก็บค่าในข้อมูลไว้ที่ตางรางข้อมูล Attribute Table

ในการกำหนดประเภท Feature ในโปรแกรมระบบ GIS จะเริ่มที่การสร้างชั้นข้อมูล โดยจะต้องกำหนดว่าชั้นข้อมูลใหม่จะเป็น Feature ประเภทไหน

วิธีกำหนดประเภท Feature ให้ถูกต้องตามหลักการควรพิจารณาดังนี้

1.       มาตราส่วนของแผนที่ฐาน (Base Map) ซึ่งปกติขนาดของมาตราส่วนจะขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้งาน เช่น การใช้งานระบบ GIS เพื่อการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน เพื่อการขออนุญาตปลูกสร้างอาคารตามกฎหมายผังเมืองรวม เพื่อการวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมสำหรับการทิ้งขยะ ควรจะใช้แผนที่ฐานมาตราส่วนแตกต่างกันไป

2.       ขนาดของปรากฏการณ์หรือวัตถุที่เล็กที่สุดที่ต้องการสร้างชั้นข้อมูล

ตัวอย่างการกำหนด Feature Type ของชั้นข้อมูลอาคารที่ต้องการนำไปใช้ประโยชน์ที่ต่างกัน 2 กรณี คือ

1)       การใช้งานระบบ GIS เพื่อการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน

2)       การใช้งานระบบ GIS เพื่อการขออนุญาตปลูกสร้างอาคารตามกฎหมายผังเมืองรวม

จะพบว่ามีเงื่อนไขการกำหนดประเภท Feature ดังนี้

            - ปกติในเขตเมืองอาคารที่มีขนาดที่เล็กที่สุดจะ กว้าง x ยาว = 4 ม. X 6 ม.

- การใช้งานระบบ GIS เพื่อการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ต้องการชี้เป้าอาคารหรือโรงเรือนที่ต้องจัดเก็บภาษีทุกอาคารให้แม่นยำไม่ผิดอาคาร จำเป็นต้องกำหนดชั้นข้อมูลอาคารให้มี Feature Type เป็น Polygon บนแผนที่ฐานมาตรส่วน 1 : 1000 หรือมาตราส่วนที่ใหญ่กว่า

เนื่องจากอาคารที่มีขนาดเล็กที่สุดกว้าง 4 เมตร หากการวาดแผนที่อาคารโดยใช้ลายเส้นที่หน้า 0.5 มิลลิเมตร วาดผนังอาคาร 2 ด้านคือ 2 เส้น ลายเส้นจะหนา 1 มิลลิเมตร

เมื่อใช้.....แผนที่มาตรส่วน 1 : 1000 จะมีขนาดหนาในพื้นที่โลกเท่ากับ 1000 มิลลิเมตร หรือ 1 เมตร

แต่ถ้าใช้.....แผนที่ฐานมาตราส่วนที่เล็กกว่า เช่น  1 : 4000 เมื่อวาดผนังอาคาร 2 ด้าน (ลายเส้นที่หน้า 0.5 มิลลิเมตร 2 เส้น) จะมีขนาดหนาในพื้นที่โลกเท่ากับ 4000 มิลลิเมตร หรือ 4 เมตร ซึ่งเท่ากับขนาดของอาคารที่มีขนาดเล็กที่สุดกว้าง 4 เมตรซึ่งไม่สามารถสร้างชั้นข้อมูลอาคารเป็น Polygon ได้

- การใช้งานระบบ GIS เพื่อการขออนุญาตปลูกสร้างอาคารตามกฎหมายผังเมืองรวมต้องการชี้เป้าอาคารที่อยู่ในขอบเขตโซนการใช้ประโยชน์ที่ดินตามประเภทของผังเมืองรวมเท่านั้น เราสามารถกำหนด Feature Type เป็น Point ได้ โดยแผนที่ฐานอาจจะไม่จำเป็นต้องใช้แผนที่มาตรา 1 : 1000 อาจจะใช้แผนที่ มาตราส่วน 1 : 4000 หรือมาตราส่วนที่เล็กกว่าก็ได้ เพียงแต่ต้องสามารถแสดงข้อมูลขอบถนน ทางน้ำหรือแนวอ้างอิงอื่นใดที่สามารถแสดงขอบเขตโซนการใช้ประโยชน์ที่ดินตามประเภทของผังเมืองรวมได้

  •  

    หลังจากทดลองมาหลายรูปแบบหลายวิธีการเราจึงพบผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ปลอดภัยกับครอบครัวซึ่งมีทั้งเด็กและคนชรา มีทั้งแชมพู น้ำยาล้างจาน และน้ำยาซักผ้า

    After experimenting with various formats and methods, we have identified a safe cleaning product suitable for families, catering to both children and older adults. The product range includes shampoo, dishwashing liquid, and laundry detergent.

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เกิดอะไรขึ้นกับข้อมูลที่ได้จากแผนที่กระดาษและแผนที่ดิจิทัลหลากหลายมาตราส่วน เมื่อนำมาใช้วัดตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง พื้นที่ ความสูง-ต่ำ และความลาดเอียงของพื้นผิวโลก

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อโลกมีลักษณะเป็นทรงกลมคล้ายผลส้ม การทำแผนที่ซึ่งต้องเป็นแผ่นราบใช้พกพา การย่อส่วนและการใช้สัญลักษณ์แสดงสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลกซึ่งต้องการความถูกต้องใกล้เคียงทั้งทิศทาง ระยะทาง รูปร่างและพื้นที่เป็นสิ่งจำเป็นที่นักภูมิศาสตร์ต้องสร้างเส้นโครงแผนที่ขึ้นมา 

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หากเป็นผู้ใช้หรือผู้ผลิตแผนที่ต้องรับรู้และเข้าใจรายละเอียดประจำขอบระวาง รายละเอียดประจำขอบระวางที่ดีจะช่วย

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    เมื่อปรากฏการณ์บนพื้นโลกถูกแสดงเป็นแผนที่ทั้งในรูป Hard Copy (กระดาษ, แผ่นผ้า, พลาสติก ฯลฯ) และ Soft Copy (Digital Map) ปัจจุบันเราจะรับรู้ว่ามีการจัดเก็บในระบบ GIS ในรูป Feature ที่เป็น Graphic data และ Attribute data  

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • เมื่อมีเป้าหมายการนำข้อมูลในระบบ GIS ไปใช้ประโยชน์แล้ว การออกแบบฐานข้อมูล ทั้งในส่วนที่เป็น Graphic และ Attribute จำเป็นต้องเข้าใจคุณสมบัติของพื้นที่ ซึ่งสามารถเรียนรู้และศึกษาจากแนวคิดของนักภูมิศาสตร์

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • หลักการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ตามแนวคิดและเทคนิควิธีการทางภูมิศาสตร์ซึ่งมีมาตั้งแต่ดั่งเดิมจนมาถึงปัจจุบัน

    อ่านเพิ่มเติม...
  •  

    บทความชุด มองข้อมูลประชากรในมิติของพื้นที่กับเวลาของนักภูมิศาสตร์คงบอกเล่ามุมมองของนักภูมิศาสตร์ได้ชัดขึ้น

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  •  

    เมื่อนำเอาข้อมูลจำนวนประชากรและพื้นที่มามองในมุมของความหนาแน่นและการกระจายตัวของประชากรในจังหวัดเชียงใหม่

     

    อ่านเพิ่มเติม...
     
  • ผลกระทบจากพายุฤดูร้อนที่ควรศึกษาและจัดการ

    อ่านเพิ่มเติม...

ผู้เยี่ยมชม GEO2GIS.com

วันนี้167
เมื่อวานนี้470
สัปดาห์นี้1676
เดือนนี้637
ทั้งหมด1199819
สมาชิก log in ขณะนี้ 0
Online ขณะนี้ 3

JSN Epic is designed by JoomlaShine.com