สาระภูมิศาสตร์

พายุ ภัยพิบัติที่มากับฤดูร้อนและฤดูฝนของไทย

ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

ตามทฤษฎี วัฏจักรของการกัดกร่อนของ วิลเลียม มอร์ริส เดวิส หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำ

การเปลี่ยนแปลงเปลือกโลก 

ตามทฤษฎี วัฏจักรของการกัดกร่อนของ วิลเลียม มอร์ริส เดวิส

หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำมีพัฒนาการแบ่งเป็น 3 ช่วงอายุคือ

ช่วงอายุน้อย เปลือกโลกที่ยกตัวขึ้นถูกแม่น้ำกัดเซาะเป็นหุบเขาลึก

 

ช่วงเติบโตเต็มที่ หุบเขาถูกกัดเซาะแผ่กว้าง

 

ช่วงอายุมาก หุบเขากลายเป็นที่ราบแผ่กว้าง

ด้านล่างที่เป็นหินเนื้ออ่อน น้ำกัดเซาะทางด้านข้าง

เกิดทางเดินน้ำลักษณะโค้งตวัด

ส่วนที่โค้งมาก เกิดทางน้ำไหลลัดทางเดิน ส่วนที่เหลือเป็นน้ำขังจากโค้งตวัดเกิดเป็นทะเลสาบรูปแอก

ตอนปลายของทางน้ำไหลลงสู่ทะเล เกิดการตกตะกอนที่น้ำพัดพามาทับถม เรียกดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ

  • ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน้ำ ถ้าไม่มีน้ำ ก็ไม่มีอาหาร เพราะป่า เป็นต้นน้ำ ต้นกำเนิดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารและทรัพยากรอื่นๆ เราควรรู้และเข้าใจป่า 

    อ่านเพิ่มเติม...
  • สำรับมนุษย์แล้ว ไฟเป็นทั้งเพื่อนและศัตรู ทาสและเจ้านาย  ไฟเป็นพลังธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกมนุษย์นำมาใช้ประโยชน์

    อ่านเพิ่มเติม...
  • เครื่องมือทางภูมิศาสตร์กับสารสนเทศภูมิศาสตร์ เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับหลักการของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในฐานะเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ถูกบรรจุเนื้อหาไว้ในวิชาเรียนในระดับมัธยมศึกษา

    อ่านเพิ่มเติม...
JSN Epic is designed by JoomlaShine.com