สาระภูมิศาสตร์

ภัยแล้ง ภัยพิบัติในฤดูร้อนของไทย

เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

สารบัญ

2. ลมประจำถิ่น (Local Wind) 

เป็นลมที่เกิดในแต่ละท้องถิ่นตามลักษณะภูมิประเทศโดยเฉพาะ โดยจะมีชื่อเรียกตามสถานที่เกิดบริเวณนั้น เช่น ลมตะเภา ลมบ้าหมู ลมทะเลทราย (Desert Winds)

ลมตะเภาซึ่งเป็นลมที่พัดจากอ่าวไทยขึ้นไปยังแม่น้ำเจ้าพระยาในฤดูร้อน

 

ลมบ้าหมู เป็นลมหมุนขนาดเล็กเกิดในช่วงร้อนจัด  โดยจะเกิดบริเวณที่โล่งๆหมุนขึ้นไปข้างบน

 

 

ลมทะเลทราย เป็นลมท้องถิ่นเกิดขึ้นในบริเวณทะเลทราย เวลาเกิดจะมาพร้อมกับพายุฝุ่นหรือพายุทราย เป็นลมร้อนและแห้ง บริเวณที่เกิดได้แก่ ทางด้านเหนือของทวีปแอฟริกา บริเวณทะเลทราย ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา

  • ฤดูกาลของประเทศไทย: ปัจจัยเบื้องหลังสามฤดูกาลของประเทศไทย – ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

    Thailand season: The factor behind the three seasons of Thailand – summer, rainy and winter seasons

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ปัจจัยที่ทําให้เกิดภัยพิบัติดินถล่ม ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา ลักษณะการใช้ที่ดิน และลักษณะสภาพภูมิอากาศ

    The factors that cause landslide disasters are topographical features, geological and soil characteristics, land use characteristics, and climate characteristics.

    อ่านเพิ่มเติม...
  • ภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เป็นรากฐานให้ศาสตร์อื่นๆ เป็นศาสตร์ที่สามารถผสมผสานแนวคิดศาสตร์อื่นๆ มาแสดงเป็นปรากฏการณ์ทางพื้นที่ได้ นักภูมิศาสตร์ใช้เทคนิคการสังเกต การอธิบายภาพความจริง ศึกษาปรากฏการณ์ที่มีความแตกต่าง หลากหลายในมิติของพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม...
JSN Epic is designed by JoomlaShine.com