ฤดูกาลของประเทศไทย: ปัจจัยเบื้องหลังสามฤดูกาลของประเทศไทย – ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

Thailand season: The factor behind the three seasons of Thailand – summer, rainy and winter seasons

Read more ...
  •  

    หยดน้ำไหลออกมาจากรากต้นไม้ ทางน้ำเล็กๆ ซากใบไม้ทับถมและซับน้ำ กรองน้ำส่งลงพื้นราบ

    Fallen leaves, which absorb and filter water into the flat plains covered droplets cascade from tree roots and small waterways.

    Read more ...
  • Read more ...
     
  • ตามทฤษฎี วัฏจักรของการกัดกร่อนของ วิลเลียม มอร์ริส เดวิส หลังจากเปลือกโลกยกตัวขึ้นก็เกิดขบวนการกัดเซาะของน้ำ

    Read more ...
  • เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่แปรผันไปตามสภาพลมฟ้าอากาศ ภัยแล้งส่วนใหญ่เกิดในเวลาฝนทิ้งช่วงเดือนมิถุนายน

    Read more ...
     
  • ภัย พิบัติจากพายุ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นทางตอนใต้ของประเทศเนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล พายุที่ก่อให้เกิดความเสียหาย

    Read more ...
  • แผ่นดินถล่ม (Landslide) เป็นขบวนการเกิดเป็นการเคลื่อนที่ของแผ่นดินและวัตถุต่าง ๆ บนพื้นดิน การเคลื่อนที่จะเคลื่อนบนพื้นที่ลาด

    Read more ...
     
  • คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (Introduction to Computer) ” สอนที่ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ เนื้อหาแนะนำการใช้งานคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องและน่าสนใจ การบริหารจัดการ ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารรัฐกิจ

    Read more ...
  •  ติดตามสถานการณ์ภารกิจช่วยเหลือเด็ก ๆ หายและเริ่มต้นการค้นหา

    Read more ...
     
  • เดิมนักภูมิศาสตร์มุ่งศึกษาในเชิงคุณภาพ (Qualitative) มากกว่าเชิงปริมาณ (Quantitative) ผลงานของนักภูมิศาสตร์จึงเป็นงานด้านการบรรยายเป็นหลัก ในการยอมรับจึงเป็นไปน้อยเพราะเชื่อกันว่าการศึกษาเชิงคุณภาพขาดความถูกต้องและเที่ยงตรง ในภายหลังนักภูมิศาสตร์จึงสนใจศึกษาเชิงปริมาณมากขึ้น

    Read more ...

User Rating: 0 / 5

Star InactiveStar InactiveStar InactiveStar InactiveStar Inactive
 

กรุงเทพมหานคร ดำเนินการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับกรุงเทพมหานครมาอย่างต่อเนื่อง โดยกำหนดแนวทางไว้อย่างชัดเจนตามแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกรุงเทพมหานคร (ปี พ.ศ. 2544 2549) ซึ่งมีการนำเสนอแผนงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไว้ 10 ด้าน คือ

1.             แผนงานระบบงานสารสนเทศระดับกรุงเทพมหานคร

2.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านเครือข่าย

3.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์

4.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูล

5.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้าน Information Portal

6.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

7.             แผนงานโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบสนับสนุน

8.             แผนงานพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

9.             แผนงานตามภารกิจหลักของสำนัก

10.      แผนงานตามภารกิจหลักในส่วนที่เป็นระบบเสริมสำหรับแต่ละสำนัก

การผลักดันจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร โดยโครงการระบบข้อสนเทศที่ดินกรุงเทพมหานคร (BLIS : Bangkok Land Information System) ตลอดจนมอบหมายหน่วยงานปฏิบัติงานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จนกระทั้งจัดตั้งกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยให้ปฏิบัติงานในบทบาท ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานคร (BMA GIS Center) พร้อมทั้งกำหนดแผนกลยุทธ์ในการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้ในกรุงเทพมหานคร (BMA Strategic Plan)

ทั้งนี้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนางานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาจนกระทั้งสามารถสนับสนุนงานของกรุงเทพมหานครและให้บริการข้อมูลแก่ประชาชนผ่านระบบ Internet ได้ในปัจจุบัน

 ในการจัดตั้งระบบ จัดทำข้อมูลและพัฒนาระบบงานด้าน GIS ของกรุงเทพมหานครตั้งแต่เริ่มต้น พบว่า ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์กรุงเทพมหานครได้พัฒนาระบบ GIS สนับสนุนการปฏิบัติงานภายในหน่วยงาน สนับสนุนนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร  สนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและให้บริการประชาชนจำนวนมาก ซึ่งเท่าที่สามารถหาข้อมูลได้พบว่าประกอบด้วยระบบต่าง ๆ ดังนี้

1.              การประยุกต์ใช้ระบบ GIS สำหรับการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะในเขตทวีวัฒนา

เจ้าหน้าที่ของเขตทวีวัฒนาจะใช้ระบบ GIS ตรวจสอบการชำระและค้างชำระค่าธรรมเนียมขยะผ่านข้อมูลเลขที่บ้านในแผนที่อาคาร ผู้จัดเก็บจะพิมพ์แผนที่ไปประกอบการจัดเก็บโดยสามารถค้นหาอาคารและเจ้าของอาคารที่ยังค้างชำระฯ ซึ่งจะแสดงเลขที่อาคาร ประวัติการชำระค่าธรรมเนียมฯบนจอคอมพิวเตอร์ ในรูปแผนที่ที่ตั้งอาคารนั้น ๆ เมื่อมีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมฯและออกใบเสร็จรับเงินแล้ว เจ้าหน้าที่จะต้องนำเอาเลขที่ใบเสร็จรับเงินมาจัดเก็บเข้าระบบ ซึ่งจะเป็นการปรับแก้ข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา และเมื่อต้องการสรุปยอดการจัดเก็บค่าธรรมเนียมฯ ผู้ใช้สามารถพิมพ์ข้อมูลสรุปในรูปรายงาน และแผนภูมิได้ทั้งรายเดือนและรายปี

2.              โปรแกรมประยุกต์นำเสนอข้อมูลผ่านเทคโนโลยี GIS WEB PAGE ใช้งานผ่านเครือข่ายเชื่อมระหว่าง กองสารสนเทศที่ดิน กับ สำนักงานเขต ทวีวัฒนา

ข้อมูลจากระบบ GIS ของสำนักงานเขตทวีวัฒนาจะสามารถเรียกดูได้ที่ กองสารสนเทศที่ดิน สำนักนโยบายและแผน ที่ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร1 ผ่านระบบเครือข่ายได้ในรูป GIS Web Page ทั้งข้อมูลอาคาร ข้อมูลค่าธรรมเนียมขยะ ข้อมูลประชากร ฯลฯ

 

 

3.              ระบบจัดการข้อมูลด้านการระบายน้ำ ของสำนักการระบายน้ำ

มีการเชื่อมโยงข้อมูลปริมาณน้ำในคลองทั้งหน้า-หลังประตูระบายน้ำจากระบบ SCADA เข้ากับระบบ GIS พร้อมแสดงข้อมูลจุดอ่อนน้ำท่วม แนวท่อระบายน้ำ รวมทั้งนำข้อมูลมา Generate Model ด้านน้ำท่วมโดยแสดงเป็นข้อมูลแผนที่ ตารางรายงาน ภาพหน้าตัด แผนผังประตูระบายน้ำและแผนภูมิ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  • การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร เนื้อหาการบรรยายจะเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรุงเทพมหานครตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางการนำมาใช้งานในอนาคต

    Read more ...
     
  • บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน

    Read more ...

  • ตามความหมายของแผนที่ แผนที่ประกอบด้วย 1) การถ่ายทอดลักษณะของพื้นผิวโลกลงสู่พื้นราบ 2) การย่อส่วน 3) สัญลักษณ์ การอ่านหรือบันทึกข้อมูลลงบนแผนที่จึงควรเข้าใจทั้ง 3 ส่วนหลักเป็นสำคัญ
    ดูคำอธิบายความหมายของแผนที่ได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=wCz3Qlwmd28&t=118s

    Read more ...
     
  • จัดเก็บข้อมูลภาคสนามด้วยแผนที่เพื่อจัดทำและนำเสนอข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องพิจารณากำหนดชนิดของคุณลักษณะข้อมูล (Feature Type)

    Read more ...
     
  • หากเป็นผู้ใช้หรือผู้ผลิตแผนที่ต้องรับรู้และเข้าใจรายละเอียดประจำขอบระวาง รายละเอียดประจำขอบระวางที่ดีจะช่วย

    Read more ...
  •  

    การนำข้อมูลในระบบ GIS ที่เป็น Attribute data มาแสดงผลให้เห็นเป็นภาพในแผนที่ สามารถแสดงได้ 4 รูปแบบ คือ

    Read more ...
     
  • ประเทศไทยเข้าสู่ สังคมผู้สูงวัย ขณะที่ประชากรวัยชราและประชากรวัยเด็กซึ่งเป็นวัยพึ่งพิงต้องการการเลี้ยงดูและดูแลจากวัยแรงงาน ภายใต้สภาวะประชากรวัยเด็ก”ลดลง "วัยชรา"เพิ่มขึ้น "วัยแรงงาน" พร้อมจะเลี้ยงดูและดูแลกันอย่างไร 

    Read more ...